26 December 2008

อบรมละครที่ ม.อุบล


พวกเราเพิ่งกลับจากทำการอบรมละครให้กับน้องๆ สาขาศิลปะการแสดง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในโครงการการอบรมศิลปะการละครเพื่อการเรียนรู้เรื่องเล่าท้องถิ่น เมื่อวันที่ 17-21 ธันวาคม 2551ที่ผ่านมา ที่ห้องโถง และห้อง ILC 204 คณะศิลปศาสตร์ งานนี้เป็นงานล่าสุดปิดท้ายปีของเรา

ซึ่งโครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ ยุทธศาสตร์ละครสำหรับเยาวชน


เราเก็บภาพบรรยากาศมาให้ดูกัน



บรรยากาศในวันแรก




เริ่มวอร์มอัพกันเถอะ




วันที่สอง เปลี่ยนห้องอบรม





วันที่สาม เริ่มด้วยการเตรียมความพร้อม



อ.บัณฑิตวงศ์ ทองกลม มาเล่าเรื่องราวนิทานจากหมู่บ้านให้พวกเราฟัง




วันที่สี่ เริ่มด้วนดารวอร์อัพร่างกาย และ วอร์มเสียง




เคลื่อนไหวร่างกายด้วยเส้นลายต่างๆ



วันที่ห้า วันสุดท้ายก่อนจะแสดงละครสั้น
ท้ายสุด ก่อนโบกมือลา
ขอขอบคุณ
คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อ.อารีรัตน์ เรืองกำเนิด หัวหน้าสาขาศิลปะการแสดง
อ.สรพจน์ เสวนคุณากร
และ น้องๆทุกคน

23 December 2008

บทวิจารณ์ หยดน้ำตาในทะเล และ แผ่นดินอื่น



TALES OF LAND AND SEA

Contemporary theatre evokes the politics of the past

Bangkok Post Outlook
December 12, 2008
by Amita Amranand




As expected, there was a fragrance of the past in creations by theatre companies B-Floor Theatre and Crescent Moon Theatre. And when familiar yet unfinished chapters of history recorded in fictional or poetic forms are plucked from their pages to continue their threads in the stories of today, nostalgia and relevance can tread on a thin line.

Crescent Moon's Yod Namtha Nai Talay (Sea Beside) translates Waree Wayu's poems on the lives of those residing by the sea into a series of small scenes that marry spoken words with moving image and bodies.
Written in the aftermath of October 6, 1976 by one of the founding members of Crescent Moon, Talay Roomron (Brewing Sea) brims with the sense of both youthful idealism and dashed dreams. Director Sineenadh Keitprapai reflected verses of pain with the uncomfortable contortion of bodies. She portrayed the wails in the poems with eerie images of rapacious ghosts and evoked crumbled hope with graceful melancholy. There was also a dash of romance in the piece with the beautiful projection of live sand drawing.

It's not surprising that Sineenadh would pick literature by a writer of that specific generation whose political, social and artistic idealism helped shape the direction of her theatre work. She was able to extract both the beauty and the sense of loss of the time. Yod Namtha felt like an homage to something long lost in the past. The only problem with the tribute is that it hardly scratches the present.



In B-Floor's Phaen Din Uen (The Other Land), the odour of the past lingers on in the present and ferments until the future becomes fearsomely fetid. Inspired by the 1996 SEA Write award-winning collection of short stories of the same name by the late Kanokphong Songsomphan, director Teerawat Mulvilai's latest effort is the most overtly political theatre creation in recent memory.

Teerawat states in his director's note, "I can never talk about the political situation any more because we all have our own 'democracy'." And as a result of that frustration, he has created a physical theatre piece that is thoughtful, affecting and uncompromising.

Through political artefacts, from the stories of Kanokphong set in the South of Thailand during the political witch hunts of the '70s and '80s to the 1977 anti-communist military propaganda film, Nak Phaen Din (The Land's Burden), Teerawat subtly injected into them the psyche and mentality of the nation today and the words we like to bandy about when we speak of politics and the current unrest while he steered clear of the hackneyed suggestion that history repeats itself.

One of the most marked characteristics of Teerawat as a performer and director is his oddball humour. And his statements are most forceful when he gives his quirkiness an edge. The death of an innocent man is quickly transformed, by the soldiers, into a comedy routine and a spectacle similar to the noisy Thai temple fairs. Before we know it, the victim is crowned a national hero. The propaganda film, with only its sounds preserved, becomes a comedy with an absurdly maudlin re-enactment. The utter seriousness of an officer as he tells the communist and the village scout to reconcile and love one another is all at once laughable, hilarious and jolting.

Teerawat drapes his entire one hour-plus production with unsettling sounds. Phaen Din Uen begins with a dead body sprawled on a bed of tyres and the voice of a Southern man: "Silence is the sound of this land." It moves into a future a la Sir Thomas More's Utopia that is choked with the mad buzzing and screeching of the citizens. It ends with today's most influential institutions taking hostage of the future generation, giving them guns to point at one another in fear. The final scene, accompanied by a chilling soundtrack and muffled sobs, made me wonder what would happen if Teerawat toyed less with sounds and more with silence.

12 December 2008

อบรมละคร



การอบรมศิลปะการละครเพื่อการเรียนรู้เรื่องเล่าท้องถิ่น
จัดโดย พระจันทร์เสี้ยวการละคร ร่วมกับ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

วันที่ 17-21 ธันวาคม 2551

ณ ห้อง ILC 204
คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
และ ยุทธศาสตร์ละครสำหรับเยาวชน

พระจันทร์เสี้ยวในเทศกาลละครกรุงเทพ 2551


พระจันทร์เสี้ยวกับละคร 3 เรื่อง ในเทศกาลละครปีนี้

เรื่องแรก เสนอ "วีนัสปาร์ตี้ เรื่องของเธอ เรื่องของเขา และเรื่องของเรา" แสดงที่โรงภาพยนตร์ลิโด้ โรง 2 สยามสแควร์

เรื่องที่สอง เสนอ ละครสำหรับเด็กและเยาวชน เรื่อง "บรู๊ววว.. หอนหาเพื่อน" ที่เวทีลองเลยทำเลย และเวทีสรีตริมน้ำ ในสวนสันติไชยปราการ

เรื่องที่สาม เสนอ บางตอนจาก "หยดน้ำตาในทะเล" (ตอน หญิงชาวเล ความยาว 10 นาที) แสดงที่เวทีกลาง

11 December 2008

วีนัสที่หัวลำโพง

บางฉากจากวีนัสปาร์ตี้ ร่วมแสดงในงาน ยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง ที่สถานีรถไฟ หัวลำโพง เมื่อวันที่ 10ธันวาคม 2551

ภาพบรรยากาศในงาน





















03 December 2008

รอบแรกเริ่มแล้ว

"Venus Party" : เรื่องของเธอ เรื่องของเขา และเรื่องของเรา

พบกับ

สุมณฑา สวนผลรัตน์
จารุนันท์ พันธชาติ
ศศพินธุ์ ศิริวาณิชย์
ธนากร ทาระธรรม
บัณฑิต แก้ววันนา

รอบ 20.30 น.
ที่โรงภาพนยตร์ลิโด้ (โรง 2) สยามสแควร์
ยังเหลืออีก 3 รอบ (เท่านั้น)

3, 4, 5 ธันวาคมนี้

ซื้อบัตรได้ที่หน้างาน

30 November 2008

29-30 พ.ย. งดการแสดงในสวน

ขอแจ้งข่าวการงดจัดงานเทศกาลละครกรุงเทพ 2551 เฉพาะบริเวณสวนสันติฯ สัปดาห์นี้ 29 และ 30 พ.ย.


นอกนั้นยังคงมีการแสดงตามปรกติ เรียน ท่านผู้สนใจศิลปะการละครทุกท่านขณะนี้ทางคณะผู้จัดเทศกาลละครกรุงเทพ 2551 มีความจำเป็นที่จะต้องงดการจัดงานบริเวณสวนสันติไชยปราการในวันเสาร์และอาทิตย์ที่ 29 และ 30 พ.ย. 2551

สำหรับพื้นที่ร้านอาหารและสถานที่ใกล้สวนสันติฯยังมีการแสดงตามปรกติในบางรายการในวันอาทิตย์ที่ 30 พ.ย. 2551 คือ

"จะวันไหนๆ" โดยมะขามป้อม ที่ร้านรัก เวลา 14.00 น และ 17.00 น

"สารพัด จัดสรร รัก" โดยกลุ่มละครคนศิลป์ ที่ร้านบาร์บาหลี เวลา 16.00 น และ 18.00 น และ

"คืนร้อน" โดยกลุ่มออนบ็อกซ์ ที่ร้านสังคมนิยม เวลา 15.00 น และ 18.00 น

ซึ่งติดตามข้อมูลที่แน่นอนได้โดยการติดต่อโทรศัพท์ 083-023-8519

สำหรับการแสดงรายการอื่นๆนอกสวนและไกลจากบริเวณสวนฯไม่ว่าจะเป็นโรงละครชุมชนมันตา,มะขามป้อมสตูดิโอ, โรงละครโรงเล็กพระจันทร์เสี้ยวสเปซโรงละครหน้ากากเปลือย, โรงภาพยนตร์ลิโด้,เดอะสไตล์บายโตโยต้า

ยังมีรายการแสดงตามปรกติไปจนถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2551 และสำหรับการแสดงในสวนและบริเวณใกล้เคียงในอาทิตย์ถัดไป จะมีการจัดในรูปแบบใดจะมีการแจ้งให้ทราบ ทั้งนี้และทั้งนั้นการแสดงในพื้นที่อื่นๆ นอกบริเวณสวนสันติไชยปราการยังเหมือนเดิมสามารถติดตามรายละเอียดได้ที่

www.bangkoktheatrefestival.com

จึงเรียนมาเพื่อทราบ และ ขออภัยในความไม่สะดวกทีมงานผู้จัดเทศกาลละครกรุงเทพ 2551

28 November 2008

4th Mekong Performing Arts Laboratory 2008 in Bangkok Theatre Festival 2008


Recital Performances from the 4th Mekong Performing Arts Laboratory
In Bangkok Theatre Festival, Santicahiprakarn Park, Phra Atit Rd.
29 November 2008
19.30 pm.

การแสดงผลงานจากโครงการศิลปินลุ่มแม่น้ำโขงในพำนัก ที่เข้าร่วมอบรมกันที่กาดสวนแก้ว เชียงใหม่ มาเป็นเวลา 4 อาทิตย์ และได้แสดงผลงานไปแล้วเมื่อวันที่ 26 พ.ย. ที่เวทีกลางแจ้ง กาดสวนแก้ว เหล่าศิลปินจาก 5 ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง พม่า ลาว ไทย กัใพชา เวียดนาม กำลังจะมาเปิดการแสดงผลงานจากแลปครั้งนี้ ในเทศกาลละครกรุงเทพ 2551 ที่สวนสันติไชยปราการ
วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2551 เวลา 19.30 น.
เวทีจุดประกาย (หน้าต้นลำพู) ในงานเทศกาลละครกรุงเทพ 2551
ชมฟรี ไม่เสียค่าเข้าชม

27 November 2008

ศิลปาธรกับละครจุดประกายชีวิต



บรรยากาศงาน "ศิลปาธรกับละครจุดประกายชีวิต"
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2551
ณ โรงภาพยนตร์ลิโด้ สยามสแควร์

เปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้วสำหรับรายการพิเศษของเทศกาลละครกรุงเทพ 2551 "ศิลปาธรกับละครจุประกายชีวิต" เมื่อวันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2551 ที่ผ่านมา ณ โรงภาพยนตร์ลิโด้ สยามสแควร์ โรงที่ 2 ในเวลา 20.00 น.

งานในวันนี้จะประกอบไปด้วย การเสวนาเกี่ยวกับ บทบาทของรางวัลศิลปาธร โดยเฉพาะในสาขาศิลปะการแสดง กับสังคมไทย ในแง่มุมต่างๆ เช่น วัตถุประสงค์ ของการมอบรางวัลศิลปิน ศิลปาธร, ประโยชน์ที่มุ่งหวังให้เกิดขึ้น ในตัวศิลปิน ศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง และ การให้รางวัลศิลปิน ศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อวงการศิลปะการแสดง หรือไม่ อย่างไร เป็นต้น และตัวอย่างการแสดงจากศิลปินศิลปาธรทั้ง 4 ท่าน อันประกอบไปด้วย

· ประดิษฐ ประสาททอง จากกลุ่มละครมะขามป้อม ศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ปี 2547
· พิเชษฐ กลั่นชื่น จาก LifeWork Dance Company ศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดงปี 2549
· นิมิตร พิพิธกุล จาก คณะละครหุ่นสายเสมา ศิลปินศิลปาธรปี 2550
· และศิลปาธรหญิงคนแรกของไทย สินีนาฎ เกษประไพ จากพระจันทร์เสี้ยวการละคร ในปี 2551

งานในวันนี้ได้รับเกียรติจาก ศ. ดร. อภินันท์ โปษยานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม มาเป็นประธานในพิธีเปิด

ซึ่ง ศ. ดร. อภินันท์ ก็ยังให้เกียรติเข้าร่วมเสวนาอีกด้วย โดยเสวนาร่วมกับ ศิลปินศิลปาธร 4 ท่าน ซึ่งก็คือ คุณประดิษฐ ประสาททอง, คุณพิเช๋ษฐ กลั่นชื่น, คุณนิมิตร พิพิธกุล และคุณสินีนาฎ เกษประไพ โดยมีผู้ดำเนินการเสวนา คือ รศ.ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ อาจารย์จากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ต่อจากนั้น ก็เป็นการนำตัวอย่างการแสดงสั้นๆ ของศิลปินทั้ง 4 ท่านมาให้ชมกัน



เริ่มจากการแสดงชุดแรกคือ "เจ้าเงาะ" ละครหุ่นสายกำกับการแสดงโดย นิมิตร พิพิธกุล ศิลปินศิลปาธรปี 2550 การเคลื่อนไหวของหุ่นที่อ่อนช้อย สวยงาม






ตัวอย่างเรื่องต่อมาคือ "Venus Party เรื่องของเธอ เรื่องของเขา เรื่องของเรา" ผลงานโดยสินีนาฎ เกษประไพ ศิลปินศิลปาธรปี 2551 มานำเสนอในรูปแบบละคร physical theatre ประกอบกับดนตรีที่เสริมพลังให้เข้ากัน ได้อย่างลงตัว




ตัวอย่างการแสดงเรื่องต่อมาคือ "Reconsider" ผลงานโดยพิเชษฐ กลั่นชื่น จาก LifeWork Dance Company พิเชษฐ ได้ออกมาแสดงเดี่ยวการเต้นรำร่วมสมัย (contemporary dance) ที่โดดเด่น และมีพลังยิ่งในทุกๆการเคลื่อนไหว








และเรื่องสุดท้ายคือ "ลิขิตนาคา" ผลงานลิเกร่วมสมัยโดยกลุ่มละครมะขามป้อม เป็นเรื่องของพญานาคที่ถูกจับมา แล้วผู้ที่จับมาต่างหมายมั่นที่จะแย่งตัวพญานาคไปเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน






งานศิลปาธรกับละครจุดประกายชีวิต นั้น ยังคงมีจัดต่อไปอีกจนถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2551 โดยภายในงานนั้นไม่ได้มีเพียงแค่ผลงานละครจาก ศิลปินศิลปาธรเท่านั้น ยังมีผลงานละครเวทีเรื่องอื่นๆ จากสมาชิกกลุ่มสามัญของเครือข่ายละครกรุงเทพ อีก 3 เรื่อง คือ "มหาบุรุษอยุธยา"จากกลุ่มละคร New Theatre Society "ใจยักษ์" กลุ่มละคร แปดคูณแปด และ เบบี้ไมม์ "Them" ผลงานจากกลุ่มละครดอกไม้การบันเทิง

ทั้ง 7 เรื่องสามารถรับชมได้ตามวันและเวลาต่อไปนี้
ที่ โรงภาพยนตร์ลิโด้ (โรง 2)
สยามสแควร์
"มหาบุรุษอยุธยา"
โดย New Theatre Society
แสดง 22 - 23 พ.ย. 51 เวลา 18.00 น.

"ลิขิตนาคา"
โดยกลุ่มละครมะขามป้อม
แสดง 25-28 พ.ย. 51 เวลา 20.30 น.
"ใจยักษ์"
โดยแปดคูณแปด ร่วมกับ เบบี้ไมม์
แสดง 29-30 พ.ย. 51 เวลา 18.00 น.

"Venus Party เรื่องของเธอ เรื่องของเขา เรื่องของเรา"
โดยพระจันทร์เสี้ยวการละคร
แสดง 2 - 5 ธ.ค. 51 เวลา 20.30 น.

"Them"
โดยดอกไม้การบันเทิง
แสดง 6-7 ธ.ค. 51 เวลา 18.00 น.

"เจ้าเงาะ"
โดยหุ่นสายเสมา
แสดง 9 - 12 ธ.ค. 51 เวลา 20.30 น.

"Reconsider"
โดย พิเชษฐ กลั่นชื่น
แสดง 13 - 14 ธ.ค. 51 เวลา 18.00 น.

ที่มา : ตัดตอนมาจากข่าว NEWS-Bangkok Theatre Festival

26 November 2008

พระจันทร์เสี้ยวในเทศกาลละคร 2551



พระจันทร์เสี้ยวการละคร เข้าร่วมในงาน
เทศกาลละครกรุงเทพฯ ปี 2551 “Theatre Sparks Life”
22 พ.ย. -14 ธ.ค. 2551


ปีนี้พระจันทร์เสี้ยวส่งงานเข้าเทศกาลรวมทั้งหมด 3 เรื่อง





เรื่องแรกพบกับ

ละครเด็กเรื่อง “บรู๊ววว...หอนหาเพื่อน”


พบกับพี่ๆนักเล่นเรื่อง จะมาเล่านิทานอินเดียนแดง เรื่องราวของหมาจิ้งจอกขี้เหงาที่ออกเดินทางเพื่อค้นหาเพื่อนบรู๊ววว..... ฉันเหงาฉันอยากมีเพื่อนเรามาออกเดินทางด้วยกันเถอะ ... บรู๊วววว...
กำกับโดย ฟารีดา จิราพันธุ์
ที่เวที จุดประกาย (หน้าต้นลำพู)
วันที่ 29-30 พ.ย. 2551 เวลา 17.30 น.
ชมฟรี

เรื่องที่สอง


ละครแนวฟิซิคัลเธียเตอร์เรื่อง
“Venus Party: เรื่องของเธอ เรื่องของเขา และเรื่องของเรา”

เรื่องราวของผู้หญิงในหลายสถานการณ์ เล่าผ่านการใช้ภาษาร่างกายและการเคลื่อนไหวโดยไม่ใช้คำพูด เรื่องนี้เคยแสดงมาแล้วหลายครั้งทั้งที่กรุงเทพ เชียงใหม่ ฟิลิปปินส์ และอินเดีย กลับมาอีกครั้ง เพื่อเข้าร่วมในเทศกาลละครครั้งนี้ที่เป็นครั้งที่ 7 ร่วมแสดงในลิโด้โปรแกม

เรื่องของผู้หญิงกับตัวตนของเธอ
เรื่องของผู้หญิงกับคนที่ทำงาน
เรื่องของผู้หญิงกับคนที่บ้าน

กำกับโดย สินีนาฏ เกษปะไพ


ที่โรงภาพยนตร์ลิโด้ สยามสแควร์ โรง 2
วันที่ 2-5 ธ.ค. 2551
เวลา 20.30 น.

บัตร 300, 500 บาท (นักเรียน,นักศึกษา ลด 50%)
จองบัตรได้ที่ โทร 083 023 8519


และเรื่องที่สาม

การแสดง “หยดน้ำตาในทะเล”


จากบทกวีสู่การเคลื่อนไหวกับการเล่นเงา เรื่องราวบางส่วนจากหนังสือรวมบทกวี “ทะเลรุ่มร้อน” ของ วารี วายุ ตอน หญิงชาวเล

หญิงชาวเล
เข้ามาในเมืองเมืองเดือนสิบ
มาแระมากาน้าซิ
มากินข้าวกันเถอะ

กำกับโดย สินีนาฏ เกษประไพ
แสดง
ที่ เวทีกลาง วันที่ 7 ธ.ค. 2551
เวลา 20.10 น.
ชมฟรี


พระจันทร์เสี้ยวการละครเข้าร่วมในกิจกรรมเสวนาอีก 3 หัวข้อ

เสวนา “ศิลปาธร ศิลปาทอน”
วันจันทร์ที่ 24 พ.ย. 2551 เวลา 20.00 – 22.00 น.
ณ โรงภาพยนตร์ลิโด้ 2


เสวนา “ปั้นความคิดเป็นตัวละคร”
วันอาทิตย์ที่ 7 ธ.ค. 2551 เวลา 14.00 – 16.00 น.
ณ ครัวนพรัตน์


เสวนา “ความเคลื่อนไหวของเทศกาลละครในต่างประเทศกับแนวโน้มของเทศกาลละครกรุงเทพ”
วันอาทิตย์ที่ 14 ธ.ค. 2551 เวลา 16.00 – 18.00 น.
ณ ครัวนพรัตน์


ละครโรงเล็ก Crescent Moon Space เข้าร่วมเป็นอีกหนึ่งโรงละครทางเลือกในงาน เทศกาลละครกรุงเทพปีนี้ เสนอเรื่อง


“ดอกไม้ในแสงแดด”



การกลับมาของดอกไม้ในแสงแดดละครเรื่องแรกของ นพพันธ์ บุญใหญ่ ในเทศกาลละครกรุงเทพ 2008“Theatre sparks life”
แสดงโดยวรัญญู อินทรกำแหง / อรอนงค์ ไทยศรีวงค์ / นพพันธ์ บุญใหญ่
เขียนบท/กำกับโดย นพพันธ์
แสดงที่ Crescentmoon space
สถาบัน ปรีดี พนมยงค์สุขุมวิท55 ซอยทองหล่อ
วันแสดง 27 – 30 Nov, 4 – 7 Dec
รอบแสดง วันธรรมดา 19.30เสาร์ อาทิตย์ 14.30 (เท่านั้น)
ราคาบัตร 300 นักศึกษา 250
จองบัตร 083238519 / 0868141676

มีซับไตเติ้ลภาษาอังกฤษWith English subtitles

18 November 2008

การเดินทางของวีนัสปาร์ตี้



การเดินทางของเหล่าวีนัส

Venus Party: เรื่องของเธอ เรื่องของเขา และเรื่องของเรา ละครแนวฟิสิคัลเธียเตอร์ โครงการนี้เป็นการร่วมมือกันระหว่าง พระจันทร์เสี้ยวการละคร วาว คอมปานี ไทยแลนด์ และ บีฟลอร์ โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร๊อคกี้เฟลเลอร์ และ The Philippines Educational Theatre Association (PETA) เปิดทำการแสดงในช่วงสองปี ระหว่าง 2546 - 2547



แสดงครั้งแรกที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพฯ
วันที่ 17 - 19 มกราคม 2546 (รวม 5 รอบ)


เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและแสดงในงาน The Asia-Pacific Festival and Conference of Women in the Arts 2003 (Changing She - Images)
กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
วันที่ 4 - 8 มีนาคม 2546 (จำนวน 1 รอบ)


แสดงที่ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
19 - 20 กรกฎาคม 2546 (จำนวน 3 รอบ)

แสดงในเทศกาลละครกรุงเทพ 2003 ที่เวทีกลาง ป้อมพระสุเมรุ
วันที่ 15 - 16 พฤศจิกายน 2546 (จำนวน 2 รอบ)

แสดงในงาน Naked On the Roof; Winter Art Project Organized by House of Indies ที่Venue ที่ The Roof เฮ้าส์ออฟอินดี้ ตึกประสานมิตรพลาซ่า
วันที่ 10 - 11 มกราคม 2547 (จำนวน 2 รอบ)

แสดงในงาน The 6 th National Theatre Festival 2004 Organized by National School of Drama ที่โรงละคร Abhimanch Theatre, New Delhi , India
วันที่ 31 มีนาคม 2547 (จำนวน 1 รอบ)

นอกจากนั้นยังมีตัดตอนไปแสดงในงานต่างๆอีก เช่น งานกลางแจ้งที่ สวนสันติไชยปนาการ และงานวัสตรีสากล แสดงในงานประชุมเรื่องผู้หญิง ที่ตึก UN



Venus's Party (performance memo during 2003 - 2004)

17-19 January, 2003 at Pridi Banomyong Institute, Bangkok

4-8 March, 2003 In The Asia-Pacific Festival and Conference of Women in the Arts (Changing She - Images) Intramuros, Manila, Philippines

19-20 July, 2003 Chiang Mai Art Museum, Chiang Mai

15-16 November, 2003 Santi Chaiprakarn Park in Bangkok Theatre Festival 2003

10-11 January, 2004 In Naked on the Roof at House of Indies

31 March, 2004 Performed in The 6 th National Theatre Festival 2004
Organized by National School of Drama
At Abhimanch Theatre, New Delhi , India


16 November 2008

Party girls

Party girls

Panasri Chuarayapratib
Bangkok Post
Outlook
January 22, 2003


Wit and humor used to shed light on women's lives Anyone who thinks physical theatre is a bit hard to take should have come to Venus's Party which ended a short run last Sunday.
The impressive, small –scale performance with a feminist theme was a collaboration between Crescent Moon Theatre, B-Floor Theatre and WOW Company.

If reflected upon the routine dilemmas of women from different sectors of society, in a way anyone could relate to. The world may change, but women's feelings and their relationships with men do not.

The universality of body language meant it was easy for the audience to identify with and digest the ideas being explored.
The stars of the show, Sumontha Saunpolrat, Priya Wongrabieb and Jarunan Phatachat, spoke with bodies about women striving for social acceptance, Competition in the work place and the efforts to achieve that "perfect body" are just two areas in which women struggle with themselves and with external pressures.
There were many hilarious, satirical moments. For example, when a heavy-set woman (played by the talented Sumontha) tries to resist the temptation to take food from the refrigerator. Or when she tries to overcome her failures by being the first to grab a bride's bouquet.

The use of juxtaposition heightened the message. For example as men bragged in unintelligible words about sex, women did the same about their bodies. As men boasted about their strength and fighting prowess, women compared themselves in terms of beauty.

Differences between the sexes were shown in a husband-and-wife scene. There was no communication between the two. While the man watched television, his wife ironed his clothes. They slept in separate chairs, facing in different directions. They moved on separately, with no soul connection.
In another strong scene, three female strangers were attacked by a male thief. The petrified women helped each other by smacking the guy, before going back to their lives as though nothing had happened.

The success of this production lay in its simplicity and its humor. Combined, these elements always delight Thai audiences. Black humor provided some memorable moments, such as when office chairs were shifted back and forth in a threatening manner – the cruelty was apparent and ridiculous enough to provoke bitter laughter. The audience could sense the pain of the young women whose chairs were stolen repeatedly by male colleagues.
Minimalistic setting and props were used effectively in this production and the show was well choreograph by Theerawat Mulvilai who also arranged the exceptional sound. Tawit Keitprapai's lighting added much to the ambience.

A big round of applause should go to director Sineenadh Keitprapai. Her experience showed in the high quality of this captivating production.

09 November 2008

Venus Party



“Venus Party:
เรื่องของเธอ เรื่องของเขา และเรื่องของเรา”
โดย พระจันทร์เสี้ยวการละคร

การกลับมาอีกครั้งของเหล่าวีนัสในละครเวทีแนวฟิซิคัลเธียเตอร์เรื่อง “Venus Party” ผลงานของ สินีนาฏ เกษประไพ ศิลปินศิลปาธรคนล่าสุด
“Venus Party” แสดงครั้งแรกที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ในปี 2547 และได้รับเชิญไปแสดงในงาน The Asia-Pacific Festival and Conference of Women in the Arts 2003 ที่ประเทศฟิลิปินส์ และได้รับเชิญไปแสดงในงาน National Theatre Festival 2004 ที่ประเทศอินเดีย

กลับมาแสดงอีกครั้งในงานเทศกาลละครกรุงเทพ 2551
ที่โรงภาพยนตร์ลิโด้ 2
วันที่ 2-5 ธันวาคมนี้ เวลา 20:30 น.


“Venus Party”
is a story about 3 women and her situations that directed by Sineenadh Keitprapai, the latest Silpathorn Award artist.
“Venus Party” was premiered at Pridi Banomyong Institute in 2003, and was invited to perform in The Asia-Pacific Festival and Conference of Women in the Arts 2003 in Philippines. And later “Venus Party” was invited to be shown in National Theatre Festival 2004 in India.

Crescent Moon Theatre proudly presents “Venus Party”
in Bangkok Theatre Festival 2008

at Lido Multiplex 2 Siam Square
December 2-5, 2008 (8:30 pm.)


For more information 081 259 6906 E-mail: contact@crescentmoontheatre.com http://www.crescentmoontheatre.com/

Booking ;Tel. 083 023 8519,
http://www.bangkoktheatrefestival.com/

08 November 2008

Welcome & Opening Day



The Mekong Performing Arts Laboratory 2008

06 November 2008

4th Mekong Performing Arts Laboratory 2008



4th Mekong Performing Arts Laboratory 2008
3-29 November 2008
Chiang Mai, THAILAND


An intensive training course using theatre and performing arts for advocacy on gender, sexuality, and HIV/AIDS designed for performing artists in the Greater Mekong Sub-Region.
Organizes by Philippines Educational Theatre Association
Local Host & Co-organizer : The Wandering Moon Performing Group and Endless Journey
Through the support of : The Rockefeller Foundation
Explore the potency of using arts for social advocacy….
Create, share new bodies of work….

02 November 2008

เพิ่งกลับมาจากการอบรม Drama Club Workshop #1


โครงการอบรม Drama Club Workshop #1

จัดที่ ม.เกษมบัณพิต ร่มเกล้า
(พี่ๆถ่ายรูปร่วมกับน้องๆหลังจากปิดการอบรม)

27 October 2008

"หยดน้ำตาในทะเล"

จากบทกวี “ทะเลรุ่มร้อน” สู่การเคลื่อนไหวใน “หยดน้ำตาในทะเล” Sea beside













ข้าอยู่ที่นั่น ข้าอยู่ที่นี่
ความฝันข้าจึงกระจัดกระจาย














ความฝันข้าลอยละล่องไปทั่วฟากสมุทร














ลูกสาวแห่งท้องทะเล
โชคชะตาดั่งมรสุมหลงฤดู
หอบพัดเธอมาสู่เมือง













“มาแระ มากาน้าซิ”
มากินข้าวกันเถอะ













เมื่อดวงตะวันสาดแสง
เราจะข้ามฟากทะเล

26 October 2008

Drama Club Workshop #1



เครือข่ายละครกรุงเทพ ร่วมกับ ยุทธศาสตร์ละครสำหรับเยาวชน สาขาสื่อสารการแสดงและสื่อสมัยใหม่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผนึกกำลัง 8 กลุ่มละครในเครือข่ายละครกรุงเทพ จัด workshop ละคร ปลายตุลาคมนี้

โครงการอบรมการละครสำหรับเยาวชน หรือ Drama Club Workshop ครั้งที่ 1 เป็นโครงการที่จัดโดย เครือข่ายละครกรุงเทพ ร่วมกับ ส่วนงานยุทธศาสตร์ละครสำหรับเยาวชน สถาบันคลังสมองของชาติ สาขาสื่อสารการแสดงและสื่อสมัยใหม่ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)จัดอบรมศิลปะการละครสำหรับชมรมและกลุ่มละคร ในระดับอุดมศึกษา โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ สืบสาน และถ่ายทอดความรู้ รวมถึงทักษะด้านศิลปะการแสดง ไปสู่เยาวชนในสถาบันและท้องถิ่น


โดยได้รับความร่วมมือจากวิทยากรจาก 8 กลุ่มละคร ซึ่งเป็นนักวิชาชีพทางการละครที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป ได้แก่
พระจันทร์เสี้ยวการละคร
กลุ่มบีฟลอร์
คณะละครแปดคูณแปด
กลุ่มละครเพื่อการเรียนรู้บางเพลย์
เครือข่ายหน้ากากเปลือย
News Theatre Society
กลุ่มละครใบ้เบบี้ไมม์
ดอกไม้การบันเทิง


ทั้งนี้ โครงการฯ จะจัดอบรมให้แก่เยาวชนในชมรมหรือกลุ่มละครในสถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินกิจการมาเป็นเวลา 1 ปี ขึ้นไป เพื่อให้ชมรม หรือกลุ่มละครนั้นๆ สามารถนำความรู้และทักษะต่างๆ ไปใช้ในการดำเนินกิจกรรมของชมรมและกลุ่มละครได้อย่างต่อเนื่องและถ่ายทอดไปสู่รุ่นน้องต่อไป

24 October 2008

งานแถลงข่าวเทศกาลละครกรุงเทพ 2551


Bangkok Theatre Festival 2008
"ละครจุดประกายชีวิต"

เครือข่ายละครกรุงเทพ จับมือ สสส. และประชาคมบางลำพู ชวนคุณมาจุดประกายชีวิตอีกครั้งใน “เทศกาลละครกรุงเทพ 2551”
แถลงข่าวไปแล้วเมื่อวาน 22 ตุลาคม ที่โรงภาพยนตร์ลิโด้

ในปีที่เจ็ดนี้พบกับศิลปินกว่าร้อยชีวิตผู้พร้อมจุดประกายความคิดและเติมเต็มชีวิตของคุณ


พบกับละครเวทีกว่า 100 เรื่อง 700 รอบการแสดง


แสดงทั้งหมด 4 อาทิตย์


ในบรรยากาศเย็นสบายริมแม่น้ำเจ้าพระยา ที่เวทีป้อมพระสุเมรุ บางลำพู

หรือจะเลือกอิ่มเอมกับละครที่คุณเคยประทับใจได้ที่ “เวทีโรงหนัง” ที่ลิโด้ สยามสแควร์ และยังมีละครดีๆที่ ละครโรงเล็ก Crescent Moon Space ที่ทองหล่อ, มะขามป้อมสตูดิโอ ที่สี่แยกสะพานควาย, Naked Masks Play Hpuse ที่พญาไท, Ideal Studio ที่รามคำแหง

ตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน - 14 ธันวาคมนี้


คลิกเลยที่

www.BangkokTheatreFestival.com


22 October 2008

ลมหายใจกับนักแสดง


เมื่อวานเราเชิญดาว ดุจดาว วัฒนปกรณ์ มาทำเวริ์คชอปการหายใจและการผ่อนคลายให้กับทีมนักแสดง "หยดน้ำตาในทะเล" เพราะเราแสดงมาได้เกือบครึ่งทางแล้ว เป็นงานแบบใช้การเคลื่อนไหว และใช้กล้ามเนื้อ ก็ควรจะผ่อนคลายด้วยการหายใจ

18 October 2008

รอบแรกของหยดน้ำตาในทะเล


การแสดงรอบแรกของ "หยดน้ำตาในทะเล" (Sea beside) เริ่มรอบแรกในวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคมนี้ เวลา 19.30 น. เรื่องนี้เป็นละครที่ร่วมแสดงในงานเทศกาลศิลปะนานาพันธุ์ จัดโดยสถาบันปรีดี พนมยงค์

เราจะเก็บภาพบรรยากาศงานมาให้ดูกันเร็วๆนี้



14 October 2008

หยดน้ำตาในทะเล


ตอนนี้เรากำลังเตรียมงานชิ้นใหม่ "หยดน้ำตาในทะเล" (Sea beside) เร็วๆนี้



21 September 2008

ภาพจากคอนเสริ์ต "คำขานรับ"

ภาพจากคอนเสริ์ต "คำขานรับ"

ละครเรื่องแรกในงาน "เสียงกระซิบจากแม่น้ำ"


































ภาพจากละครอีกเรื่องของเราในงานนี้ เรื่อง "ปีศาจ"